การเผยแพร่ ของ พระโค พระแก้ว

วัดตรอแลงแกงในกรุงละแวก มีวิหารชื่อ พระโค พระแก้ว ภายในมีภาพจิตรกรรมฝาผนังเรื่องราวพระโค พระแก้วตั้งแต่ต้นจบจบ ชาวเขมรเชื่อว่าองค์จริงนั้น ถูกนำไปไว้ที่ ณ พระนครศรีอยุธยา จึงมีการสร้างองค์จำลองขึ้นมา[3] มีการตีพิมพ์นิทานเรื่องนี้เป็นภาษาฝรั่งเศสเมื่อ ค.ศ. 1860[4] ค.ศ. 1952 สํานักพิมพ์คีม คี นํามาพิมพ์เผยแพร่ ในปี ค.ศ. 2001 สํานักพิมพ์ไรยํได้นําตํานานเรื่องนี้มาเขียนภาพประกอบแล้วพิมพ์เผยแพร่เป็นหนังสือภาพประกอบตํานานเรื่อง พระโค พระแก้ว เรื่องราวนี้อยู่ในแบบเรียน ประวัติศาสตร์เขมร ภาค 2 ของ ตรึง เงีย (ตฺรึง งา)[5]

ใกล้เคียง

พระโคตมพุทธเจ้า พระโคตมพุทธเจ้าในศาสนาโลก พระโคตมพุทธเจ้าในศาสนาฮินดู พระโค พระแก้ว พระคเณศ พะโค พระโพธิสัตว์ พระโพธิญาณเถร (ชา สุภทฺโท) พระคัมภีร์คนยาก พระครูสมุทรธรรมสุนทร (สุด สิริธโร)